Posts

Showing posts from November, 2017

แสงและการเห็นสีของวัตถุ

Image
  แสงและการเห็นสีของวัตถุ                 ในชีวิตประจำวันของเราจำเป็นต้องใช้ดวงตาในการมองเห็นรูปร่าง รูปทรง และ สีต่างๆของวัตถุต่างๆ ซึ่งเราจะสามารถมองได้ชัดเจนและตรงตามความเป็นจริงได้อย่างไร ? การมองเห็นของดวงตามนุษย์ เกิดจากการที่แสงกระทบสิ่งต่างๆและเกิดการสะท้อนเข้าสู่ดวงตาของเราผ่านทางเลนส์ตาทำ (Lens) ให้เกิดภาพบนเรตินา (Retina) ผ่านเส้นประสาท (Optic nerve) ไปสู่สมอง ดังนั้นแสงที่กระทบวัตถุก็น่าจะมีผลต่อการมองเห็นสีของวัตถุเช่นกัน เราจึงได้ทำการทดลองนี้ขึ้น   วัตถุประสงค์ :        1. เพื่อเข้าใจหลักการดูดกลืนแสงของวัตถุสีต่างๆ                                 2. เพื่อให้เข้าใจหลังการสะท้องแสงของวัตถุสีต่างๆ                                 3. เพื่อสามารถแยกแยะสีของวัตถุได้จากแสงที่เปลี่ยนไป วัสดุ อุปกรณ์ :       วัตถุทึบแสงที่มีสีต่างๆ , แสงสีแดง , แสงสีเขียว , แสงดีน้ำเงิน , แสงสีขาว วันที่ทำการทดลอง : 28 ตุลาคม 2560 สมมุติฐาน :             1. เราจะมองเห็นวัตถุทุกสีเป็นสีที่แสงส่องสู่วัตถุ                                 2. แสงสีขาวจะทำให้เห็นสีจริงข

ทดสอบการดูดน้ำของบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป

Image
ทดสอบการดูดน้ำของบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ปัญหา  เนื่องปัจจุบันบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปมีมากหมายหลายยี่ห้อ รสชาติก็เหมือนๆกัน จึงอยากทราบว่ายี่ห้อไหนสามารถดูดน้ำได้มากหรือน้อยเพื่อประโยนช์ต่อการเลือกบริโภค อุปกรณ์  1. บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป 5 ยี่ห้อ    1.1 นิชิน    1.2 มาม่า    1.3 ยำยำ    1.4 ควิก    1.5 ไวไว 2. น้ำเปล่า 3. แก้วน้ำ 4. เตาไฟฟ้า 5. หม้อต้มน้ำ  ตัวแปรต้น    ยี่ห้อบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ตัวแปรตาม    น้ำที่เหลือการการอืดของบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ตัวแปรควบคลุม    ปริมาณน้ำ    ปริมาณของบะหมี่ 60 กรัม    เวลา ขั้นตอนการทดลอง  1. ต้มน้ำจนเดือด 2. เทน้ำใส่บะหมี่ในบริมาณที่เท่ากัน 3. จับเวลา6นาที 4. กรองน้ำออกจากบะหมี่ให้หมด 5. สังเกตุว่าน้ำในบะหมี่ยี่ห้อไหนเหลือมากหรือน้อยกว่ากัน สรุปผลการทดลอง บะหมี่ที่เหลือน้ำเยอะที่สุดคือยี่ห้อ ไวไว ลองลงมา คือ ยำยำกับควิก ตามมาด้วย มาม่า ยี่ห้อที่ดูดน้ำมากที่สุดคือ นิชิน ภูรี ธนูทอง อธิป ทิมเทพ พรรณวรท พลขั้นธ์ อิศร โจไซย่าห์

Do you ever think ?

Image
Do you ever think ? จากปากซอย วงศ์สว่าง11ถึงหลังม. ถ้าเราเดินก็คงช้ากว่าขึ้นวินแน่ๆแต่ถ้าคิววินเยอะ เดินก็อาจจะไวกว่า แล้วคิวที่เท่าไรล่ะ ? ขั้นตอนการทดลอง 1.) กลุ่มของผมก็ทดลอง เดินปกติ เดินเร็ว วิ่ง จับเวลาดูว่าใช้เวลาเท่าไร 2.) กลุ่มของผมก็จะขึ้นวินแล้วจับเวลาดูว่าตอนวินวิ่งไปหลังม.ใช้เวลาเท่าไร 3.) ถ้ากลุ่มผมทำการทดลองโดยการขึ้นวินทดลองทุกครั้งคงจะเสียค่าใช้จ่ายจำนวนมาก กลุ่มผมเลยได้คิดวิธีการเพื่อลดจำนวณการขึ้นวินแต่ได้ผลการทดลองเหมือนเดิมคือ กลุ่มผมจะไปนั่งเฝ้าดูและจับเวลาดูว่ากว่าวินอีกคันจะมาใช้เวลาเท่าไร ก็จะทำให้รู้ถึงเวลาในการรอวิน ช่วงเช้า ( 7.00- 9.00 )          รอบที่ 1     รอบที่ 2     รอบที่ 3     เฉลี่ย คิว     เวลา          เวลา          เวลา         เวลา 1        0.08          0.45           0.28          0.27 2        0.36          2.03           0.47          1.09 3        2.10          3.34           1.13          2.19 4        2.47          4.20           2.35          3.14 5        3.35           5.03          4.10          4.16 6     

การเก็บความเย็นของเเก้วเก็บความเย็น

Image
จุดประสงค์ของการทดลอง   เพื่อศึกษาว่าแก้วเก็บความเย็นสามารถเก็บความเย็นได้นานเท่าไร     สมมุติฐาน - สามารถเก็บความเย็นได้นานกว่าเเก้วธรรมดา2ชม อุปกรณ์การทดลอง   1.  แก้วเก็บความเย็น   2.เเก้วน้ำธรรมดา   3.น้ำเเข็ง     วิธีการทดลอง   1.จัดเตรียมเเก้วเก็บความเย็น,เเก้วน้ำ,น้ำเเข็ง   2. นำน้ำเเข็งใส่ลงไปในเเก้วเก็บความเย็นเเละเเก้วน้ำอย่างละ1ก้อน   3.ทำการจับเวลาเเล้วสังเกตการเปลี่ยนเเปลงของน้ำเเข็ง   ตัวแปรต้น ภาชนะใส่น้ำเเข็ง   ตัวแปรตาม ระยะเวลาในการละลายของน้ำเเข็ง   ตัวแปรควบคุม อุณหภูมิโดยรอบ ปริมาณน้ำเเข็ง อุณหภูมิน้ำเเข็ง     ผลการทดลอง 1.ใส่น้ำเเข็งลงในเเก้ว     2.เมื่อผ่านไป25นาที   3.เมื่อผ่านไป45นาที 4. เมื่อผ่านไป50นาที 5. เมื่อผ่านไป1ชั่วโมง 6. เมื่อผ่านไป2ชั่วโมง 7.เมื่อผ่านไป3ชั่วโมง 8.เมื่อผ่านไป4ชั่วโมง50นาที 9.เมื่อผ่านไป5ชั่วโมง15นาทีน้ำเเข็งละลายหมด     สรุปผลการทดลอง จากการทดลองพบว่าน้ำเเข็งในเเก้วเก็บความร้อนใช้เวลาในการละลาย5ชั่วโมง15นาทีซึ่ง