Posts

Showing posts from August, 2017

Nano Engineer

Image
เกริ่นนำนาโนเทคโนโลยี            เชื่อว่าหลายคนคงเคยได้ยินคำว่า “นาโนเทคโนโลยี” กันมาบ้างแล้ว แต่ไม่รู้ว่ามันคืออะไร แต่ในปัจจุบันนี้ศาสตร์แห่งนาโนเทคโนโลยีเป็นโครงการศึกษาและวิจัยระดับชาติไปแล้ว หากลองสังเกตจากรากศัพท์แล้วไอ้คำว่า “นาโน”เนี่ยมันมามีความหมายว่า ความยาวที่มีขนาดเล็กระดับ 1/10 9   หรือพูดเป็นภาษาชาวบ้านว่าความยาวของเศษ 1 ใน 1 , 000 , 000 , 000 ส่วน(เล็กกว่าตามดอีก) ส่วนคำว่า “เทคโนโลยี”นั้นมันหมายถึง ความก้าวหน้า วิวัฒนาการ การนำความรู้มาประยุกต์ นั่นเอง เมื่อนำสองคำนี้รวมเข้าด้วยกันมันจึงหมายถึง การจัดการ การวิเคราะห์ การสร้างหรือการออกแบบ วัสดุ อุปกรณ์ รวมไปถึงเครื่องจักรขนาดเล็กระดับนาโน                                        รูป ก. กำเนิดนาโนเทคโนโลยี           ต้นกำเนิดของนาโนเทคโนโลยีนั้นเกิดขึ้นที่ห้องแลบ  PARC (Xerox's Palo Alto Research Center)  ซึ่งเป็นห้องแลบที่เป็นแหล่งกำเนิดเทคโนโลยีที่ก้าวล้ำด้านต่างๆของโลกในปัจจุบัน หากย้อนกลับไปปี ค.ศ.   1959   นักวิทยาศาสตร์ท่านหนึ่งนามว่า  Richard P. Feynman( รูป ก.)   ใช้คำว่า  Minimanufacturing  และ

วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์

Image
วิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์คืออะไร         วิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics Engineering) เป็นสวิทยาการเชิงประยุกต์ ที่นำวิชาพื้นฐานหลักว่าด้วย วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ วิศวกรรมการควบคุมอัตโนมัติ วิทยาการคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศมาบูรณาการเข้าด้วยกันเพื่อการออกแบบและสร้างผลิตชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์ เมื่อ เทคโนโลยี ก้าวหน้าขึ้น  สาขาย่อยของ วิศวกรรม ก็ขยายและพัฒนา จุดประสงค์ของแมคคาทรอนิกส์จึงเป็นกระบวนการออกแบบที่รวมเป็นหนึ่งเดียวของสาขาย่อยเหล่านี้ แต่เดิม แมคคาทรอนิกส์ได้รวมแค่แมคคานิกส์และอิเล็กทรอนิกส์เท่านั้น ดังนั้นคำว่าแมคคาทรอนิกส์จึงเป็นคำผสมของ แมคคา และ ทรอนิกส์ อย่างไรก็ตาม เมื่อระบบด้านเทคนิคมีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ คำ ๆ นี้จึงถูกขยายความให้รวมถึงพื้นที่ทางเทคนิคมากยิ่งขึ้น คำว่า "แมคคาทรอนิกส์" มีจุดเริ่มต้นในภาษา Japanese-English และถูกริเริ่มโดยนาย Tetsuro Mori  วิศวกรจากบริษัท Yaskawa Electric Corporation คำนี้ถูกลงทะเบียนเป็น เครื่องหมายการค้า โดยบริษัทในญี่ปุ่นด้วยทะเบียนหมายเลข "46-32714" ในปี 1971 อย่างไรก

วิศวกรปิโตรเลียม

Image
วิศวกรรมปิโตรเลียม วิศวกรปิโตรเลียม คือ วิศวกรที่ทำงาน เกี่ยวการเจาะและการผลิตน้ำมัน โดยมีหน้าที่ในการสำรวจหาหรือออกแบบวิธีการที่จะผลิตน้ำมันดิ บหรือก๊าซธรรมชาติจากแหล่งปิโตรเลียมที่สำรวจพบ วิศวกรรมปิโตรเลียม คือ  สาขาของวิศวกรรม เกี่ยวกับ การเจาะและการผลิต น้ำมันหรือก๊าชธรรมชาติขึ้นมาจากแหล่งกักเก็บใต้ผิวดิน ลักษณะงานมีทั้งภาคออกแบบ ศึกษา วางแผน และภาคสนาม หลักสูตรวิศวกรปิโตรเลียม 1.หมวดธรณีวิทยา เรียน ทางด้านธรณีวิทยาทั่วไป และธรณีวิทยาของแหล่งปิโตรเลียม เพื่อจะได้เข้าใจถึงโครงสร้าง และลักษณะของแหล่งกักเก็บปิโตรเลียมประเภทต่าง ๆ   2.หมวดเจาะหลุม เรียน การออกแบบหลุมปิโตรเลียม วิธีการเจาะ การป้องกันการพลุ่งของปิโตรเลียม การลงอุปกรณ์ที่ใช้ในหลุม และการวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บบันทึกระหว่างหรือหลังการเจาะ 3.หมวดการผลิต เรียน อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการผลิต การกระตุ้นการผลิต การผลิตโดยแรงดันธรรมชาติ การช่วยการผลิตเมื่อแรงดันลดลง การคำนวณการไหลของปิโตรเลียมในท่อผลิตและท่อส่ง 4.หมวดแหล่งกักเก็บ เรียน รู้ลักษณะและคุณสมบัติต่าง ๆ ของปิโตรเลียมและแหล่งกักเก็บ การไหลของปิโตรเลียมเข้าส

Communication engineering

Image
วิศวกรสื่อสาร ( วิศวกรรมโทรนาคม )        หากย้อนไปในอดีตคงไม่มีใครคิดว่าเราจะสามารถพูดคุยกันได้ ทั้งๆที่อยู่กันคนละซีกโลก แต่ด้วยเทคโนโลยีการสื่อสารต่างๆที่มนุษย์พัฒนาขึ้นช่วยย่อโลกให้เล็กลงทำให้เราติดต่อสื่อสารกันได้ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น วิศวกรสื่อสาร คืออะไร ในความคิดของผม ผมคิดว่าวิศวกรในด้านสื่อสารนั้น เราเป็นสื่อกลางที่ช่วยให้เราติดต่อสื่อสารกันได้ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อสื่อสารทางดาวเทียม ใยแก้วนำแสง คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์บ้าน โทรศัพท์มือถือ หรือแม้กระทั้งแอพพริเคชั่น ในระบบการสื่อสารนั้นก็จะมี ผู้ส่งสาร ช่องทางการสื่อสาร ผู้รับสาร ส่วนใหญ่แล้ววิศวกรสื่อสารจะทำหน้าที่ปรับปรุงตัวที่เป็นสื่อในการส่งสารระหว่างผู้ส่งและผู้รับให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ในด้านความหมายนั้นวิศวกรรมโทรนาคมนั้นคือ เป็นวิชาการด้านวิศวกรรมที่เกิดจากการรวบรวมองค์ความรู้ทางวิศวกรรมไฟฟ้าและวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์เพื่อเสริมสร้างระบบการสื่อสารโทรคมนาคมที่เป็นองค์ความรู้ เฉพาะทาง ซึ่งความรู้ด้านโทรคมนาคม จะเป็นสาขาที่มีความหลากหลายของวิศวกรรมซึ่งจะเชื่อมต่อกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์,งานโยธา,งานโครงสร้าง,การวา

งานของวิศวกรรมไฟฟ้า สาขาไฟฟ้ากำลัง

Image
           วิศวกรรมไฟฟ้าเป็นศาสตร์ดั้งเดิมที่มีมานานแล้ว อธิบายก็คือการนำความรู้ ความก้าวหน้าทางด้านฟิสิกส์และคณิตศาสตร์มาผสมผสานกันให้เกิดประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม เริ่มตั้งแต่การออกแบบวงจร ออกแบบอุปกรณ์ ไปจนถึงการออกแบบระบบหรือออกแบบโครงข่ายและติดตั้ง รวมถึงการควบคุม             หลายคนคงคิดว่าคนที่ทำงานเกี่ยวกับวิศวกรรมไฟฟ้าควรจะทำงานเป็นแค่ช่างซ่อมไฟ เดินสายไฟ รวมทั้งการซ่อมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ทำให้หลายคนไม่ทราบว่าจริงๆแล้วงานของวิศวกรรมไฟฟ้านั้นทำอะไรบ้าง             วิศวกรรมไฟฟ้านั้นสามารถเป็นได้ทั้งนักวิจัย พัฒนา องค์ความรู้ใหม่และนวัตกรรมที่สามารถส่งผลให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ, ผู้ให้บริการวิศวกรไฟฟ้าเป็นผู้ที่มีส่วนสำคัญในการจัดหาซื้อขายอุปกรณ์ต่างๆให้ตรงกับความต้องการและเกิดประโยชน์สูงสุด สามารถทำให้การดำเนินการสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี, ผู้ประกอบการสามารถที่จะสร้างธุรกิจใหม่ๆให้กับเศรษฐกิจทั้งในประเทศและต่างประเทศ, บริษัท อุตสาหกรรม โรงงานผลิตหลายบริษัทต้องการวิศวกรไฟฟ้าในการดูแลระบบไฟฟ้า พวกเครื่องจักรกลไฟฟ้าและควบคุมระบบต่างๆให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ, ราช

โปรแกรมที่ช่วยในการคำนวณสำหรับวิศวะไฟฟ้า

Image
Proteus เป็นโปรแกรมที่เป็นประโยชน์ ในงานด้านอิเล็กทรอนิกส์ เพราะสามารถออกแบบวงจรไฟฟ้า พร้อมทั้งจำลองการทำงานของวงจรได้ ทั้งยังสามารถออกแบบลายวงจรพิมพ์ได้อีกด้วย ความสามารถที่โดดเด่นของ Proteus นั้น จะกล่าวได้ว่าเป็นโปรแกรมที่สามารถจำลองพฤติกรรม การทำงานของวงจรที่ใช้ Microcontroller เบอร์ต่าง ๆ ได้มากมาย โดยไม่ต้องประกอบวงจรให้เสียเวลา เพื่อพิสูจน์ว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นใช้งานได้หรือไม่ Arduino IDE เป็นโปรแกรมที่ใช้ทดสอบการทำงานของ Arduino สามารถเขียนโปรแกรมให้ใช้ร่วมกับอุปกรณ์ต่างๆ มากมาย เช่น ลำโพง led keypad lcd 7-segment เซนเซอร์ต่างๆ นำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลายเช่น เครื่องคิดเลข,เครื่องรดน้ำต้นไม้,เครื่องวัดอุณหภูมิ PLC (Programmable logic Controller) เป็นอุปกรณ์ควบคุมการทำงานของเครื่องจักรหรือกระบวนการทำงานต่างๆ โดยภายในมี Microprocessor เป็นมันสมองสั่งการที่สำคัญ PLC จะมีส่วนที่เป็นอินพุตและเอาต์พุตที่สามารถต่อออกไปใช้งานได้ทันที ตัวตรวจวัดหรือสวิทตช์ต่างๆ จะต่อเข้ากับอินพุต ส่วนเอาต์พุตจะใช้ต่อออกไปควบคุมการทำงานของอุปกรณ์หรือเครื่องจักร